วันอาทิตย์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

4.1 Tag questions

4.1 Tag questions

. ประโยคบอกเล่าที่มีกริยาช่วย ( to be, V. to have, V. to do, will, would, shall, should, may, might, can, could) ให้ใช้กริยาช่วยเหล่านั้นมาทำเป็น Question tag ได้เลย เช่น

Jack is from Spain, isn’t he?  อ่านเพิ่มเติม

บทที่4 QUESTION WORDS

บทที่4 QUESTION WORD
โครงสร้างประโยคคำถามของThe Simple Present Tense ก็ใช้ do และ does มาช่วยกริยาแท้ของประโยค โดยวางไว้หน้าประธาน ดังโครงสร้างต่อไปนี้
Do + ประธานพหูพจน์ + infinitive + ……………?
Does + ประธานเอกพจน์ + infinitive + ……………?

ในการตอบคำถามประเภทนี้ ถ้าตอบแบบสั้น (short answer) จะใช้ do และ does มาตอบดังตัวอย่างประโยคต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม

3.1 การบอกเหตุการณ์ในอดีตด้วยการใช้ time clauses

3.2 การบอกเหตุการณ์ในอดีตด้วยการใช้ 
time clauses


บทที่ 3 PAST TIME

บทที่ 3 Past Simple
การกล่าวถึงอดีต the simple past
Past Simple Tense ใช้พูดถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตและจบสิ้นลงไปแล้ว โดยมักจะมีการระบุช่วงเวลาไว้ด้วยว่าเกิดขึ้นเมื่อไหร่ มาดูโครงสร้างและวิธีใช้งานกันเลย อ่านเพิ่มเติม


2.3วิธีการใช้ Possessive nouns ในภาษาอังกฤษ

2.2 วิธีการใช้ Possessive nouns ในภาษาอังกฤษ
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ คำนามแสดงความเป็นเจ้าของ ( possessive nouns )

Possessive nouns (พอสเซสซิฟวฺ นาวสฺ) หมายถึง การทำให้คำนามอยู่ในรูปแสดงความเป็นเจ้าของมีอยู่ 2 แบบ คือ
แบบที่ หากคำนามที่จะเปลี่ยนให้แสดงความเป็นเจ้าของเป็นรูปเอกพจน์ และเป็นบุคคลหรือสัตว์ให้ใส่ apostrophe s (’s) ท้ายคำนาม
แบบที่
หากคำนามที่จะเปลี่ยนให้แสด

2.2การใช้บุพบท in, on, at บอกเวลาในภาษาอังกฤษ

2.2 การใช้บุพบท in, on, at บอกเวลาในภาษาอังกฤษ
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ คำบุพบทบอกเวลา (prepositions of time )
การใช้บุพบท  in, on, at บอกเวลา
คำบุพบทหรือภาษาอังกฤษเรียกว่า preposition  คือ  คำที่ใช้บอกตำแหน่ง  บอกสถานที่  บอกทิศทาง  แสดงการเคลื่อนไหว  หรือบอกความสัมพันธ์ระหว่างคำนามหรือสรรพนามกับคำอื่นๆ ในประโยค   คำบุพบทในภาษาอังกฤษ มีเยอะแยะมากมายให้ อ่านเพิ่มเติม

2.1การออกเสียงที่ลงท้ายด้วย s/-es

2.1 การเติม s es ที่คำกริยา present simple tense
 การเติม s es ที่คำกริยา ก็คล้ายกันกับการเติม  s es ที่ท้ายคำนาม เพื่อทำคำนามให้เป็นนามพหูพจน์ทุกประการ ยกเว้นท้ายกริยาที่ลงท้ายด้วย o เท่านั้นที่แตกต่างนิดหนึ่ง เพราะกริยาที่ลงท้ายด้วย o ให้เติม es อย่างเดียว ไม่เหมือนคำนามที่เติม s บ้าง es บ้าง